วันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2567

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง
- กาย อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความลังเลในธรรมะหรือความถูกความดี ความเห็นผิด
- การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดี การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส

- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส

- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย
- การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ตัวตนอย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การใช้ธรรม อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง
- ความพอใจ ถูกใจ ความติดใจ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การไม่รู้จักวางเฉย ไม่รู้จักวางใจเป็นกลาง ไม่รู้จักปล่อยวาง ไม่รู้จักออกจาก ความติด ความยึดติด ความยึดมั่นถือมั่น
- ความมัวเมา
- ไม่เป็นความจริง ไม่อยู่กับความจริง
- ความประมาท ไม่รอบคอบ
- ขี้เกียจ เกียจคร้าน ไม่มีความเพียรพยายามในทางที่ถูกที่ดี
- ไม่มีความอด อดทน อดกลั้น ฝืนเพื่อความถูกความดี
- การคิด พูด สื่อ กระทำอย่างไม่ถูกหรือไม่ดี
- ความไม่เหมาะสม ความไม่พอเหมาะ ไม่มีจังหวะที่ถูก ความไม่รู้จักพอ ความมากเกิน หรือน้อยเกิน เกินขอบเขตจำกัด เกินขีดจำกัด การฟุ้งเฟ้อ สิ้นเปลือง มีความไม่สมดุล
- ความอยาก อยากได้ อยากมี หรืออยากใช้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ความอยาก อยากได้ อยากมี อยากใช้ อยากทำ อยากเป็น อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่อยาก ไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากใช้ ไม่อยากทำ ไม่อยากเป็น อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่เป็นทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- การปรารถนา หา มี ติด ยึดติด หรือยึดมั่นถือมั่นในชื่อเสียง หน้าตา อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- การเรียงความสำคัญผิด ผิดอันดับ ผิดลำดับ การเรียงผิด ผิดเนื้อนาม ผิดลำดับจากหลักวิชาหรือกฎของธรรมชาติ การซ้ำแบบผิด ผิดหลักวิชา
- การเอาของผู้อื่น การใช้ในส่วนของผู้อื่น
- อธรรม อธรรมหยาบ อธรรมปานกลาง อธรรมละเอียด อธรรมความโลภมี สะสมอธรรมหรือกิเลส บารมีที่ผิดที่ไม่ดี ทุจริต การแย่ง แย่งสมบัตินามขันธ์ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเสียสมบัตินามขันธ์อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความเบียดเบียน ความเห็นแก่ตัว คิดร้าย ความคด มีเล่ห์เหลี่ยม ความโกง ทรยศ หักหลัง ไม่เป็นกลาง ลำเอียง ไม่เป็นธรรม เอาเปรียบ ลักไก่ มักง่าย ไม่รับผิดชอบ ขอไปทีอย่างเป็นอธรรม ความตระหนี่ ความอิจฉาริษยา การทำให้คลาดเคลื่อน การทำให้ผิดพลาด การทำให้ผิด การบังคับอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การรับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส การพนัน อบาย
- อธรรมของตนในที่ตนเอง ที่ขันธ์อื่น หรือที่สิ่งอื่น อธรรมในอดีต ในปัจจุบัน หรือในอนาคต
- แนวลบที่เป็นอธรรม
- การใช้สมบัติรูป สมบัตินาม อย่างเป็นอธรรม เป็นวิชาที่ผิดที่ไม่ดี หรือเป็นกิเลส
- การใช้ขันธ์ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- ความไม่มีวิชา มีหรือใช้ทักษะ วิชา อย่างเป็นกิเลส ทักษะที่ผิดที่ไม่ดี วิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- กิเลสของตนในที่ตนเอง ที่ขันธ์อื่น หรือที่สิ่งอื่น กิเลสในอดีต ในปัจจุบัน หรือในอนาคต
- เกี่ยวกับธรรมชาติ อย่างเป็นอธรรม เป็นกิเลส หรือผิดกฎของธรรมชาติ
- ความอาลัย เศร้าหมอง ความเสียดายอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความหดหู่ ความพลาดหวัง ผิดพลาด ล้มเหลวอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- ความไม่เป็นอิสระในทางที่ถูกที่ดี หรือการมีอิสระอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- ความสำเร็จ ความสมหวัง อย่างเป็นอธรรม หรือเป็นกิเลส
- กิเลส กิเลสหยาบ กิเลสปานกลาง กิเลสละเอียด ความโลภ ความโลภมี ความโกรธ ความหลง ความหลงผิด ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด

โดย ชวัลธร

อธรรม

อธรรมเป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ อย่างเป็นทางสายกลาง และไม่ควรเป็นเจ้าของ

อธรรม ๔ ข้อ คือ
- อธรรม ความไม่ถูก ความไม่ดี ความไม่ใช่ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายชั่วร้าย ความชั่วร้าย
- ความไม่มีวิชา วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส แก้ปัญหาด้วยความผิด

อธรรม ๒๕ ข้อ คือ
- ความไม่ถูก ความไม่ดี ขาดศีล ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ขาดวิชา ความไม่ใช่ทางสายกลาง ความหย่อนเกินหรือตึงเกิน
- ความไม่มีวิชา ทักษะที่ไม่ถูกไม่ดี วิชาที่ไม่ถูกไม่ดี
- จิตสำนึกที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความเห็นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี เจตนาที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความหลงผิด การสะสมอธรรมหรือกิเลส
- คิดไม่ถูกคิดไม่ดี คิดร้าย ตั้งจิตปรารถนาในทางที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความปรารถนาไม่ถูกไม่ดี ความอยากอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การปรารถนา หา มี ติด ยึดติด หรือยึดมั่นถือมั่นในชื่อเสียง หน้าตา อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- เจรจาไม่ถูกไม่ดี
- ความประพฤติไม่ถูกไม่ดี การปฏิบัติไม่ถูกไม่ดี การสร้าง มีบารมีที่ไม่ถูกไม่ดี ทุจริต
- ความเบียดเบียน
- ความพยายามที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ความไม่เพียรพยายามในทางที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่มุ่งมั่นในความถูกความดี มักง่าย ไม่รับผิดชอบ ขอไปทีอย่างเป็นอธรรม ความประมาท ไม่รอบคอบ
- ความตั้งมั่นที่ไม่ถูกที่ไม่ดี ไม่มีความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ไม่ถูกที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญไม่ถูก ไม่ถูกอันดับ ไม่ถูกลำดับ การเรียงไม่ถูก ไม่ถูกเนื้อนาม ไม่ถูกลำดับ ไม่เป็นระเบียบ การซ้ำแบบผิด ผิดหลักวิชา
- อ่อนแอ ไม่อดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี
- ความไม่เหมาะสม ไม่พอเหมาะ ไม่พอดี ไม่มีจังหวะที่ถูก ไม่รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา ไม่รู้จักพอ ความมากเกิน หรือน้อยเกิน เกินขอบเขตจำกัด เกินขีดจำกัด การไม่รู้จักเก็บอย่างพอเหมาะ การฟุ้งเฟ้อ สิ้นเปลือง ไม่ทันเวลาที่จำกัด มีความไม่สมดุล
- การไม่รู้จักปรับตัวอย่างถูกต้อง
- ความไม่สม่ำเสมอ ไม่เสมอต้นเสมอปลายอย่างถูกต้อง
- การแย่ง แย่งสมบัตินามขันธ์ อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเสียสมบัตินามขันธ์อย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเอาของเขา การใช้ในส่วนของเขา แข่ง เปรียบเทียบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัว ความอิจฉาริษยา การทำให้เข้าใจคลาดเคลื่อน ทำให้เข้าใจผิด การใส่ร้าย การกดขี่ข่มเหง การรังแก การทำให้คลาดเคลื่อน การทำให้ผิดพลาด การทำให้ผิด การบังคับอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส การรับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส การพนัน อบาย
- การไม่รู้จักออกจาก ความติด
- การไม่รู้จักบันทึก ไม่รู้จักเก็บบันทึก
- การไม่รู้จักวางเฉย ไม่รู้จักปล่อยวาง ละวาง
- ความไม่เป็นกลาง ลำเอียง
- ความไม่เป็นธรรม เอาเปรียบ
- การไม่รู้คุณไม่แทนคุณ
- ความคด มีเล่ห์เหลี่ยม โกง ทรยศ หักหลัง ลักไก่
- อสัจ ความไม่จริง ไม่จริงใจ
- ความไม่มีอิสระ ไม่เป็นอิสระอย่างถูกต้อง ความอิสระที่ไม่ถูกไม่ดี
- กิเลส ความโลภ ความโลภมี ความโกรธ ความหลง ความมัวเมา แก้ปัญหาด้วยความผิด

โดย ชวัลธร

ธรรมฝ่ายดีงาม

- ความถูก
- ธรรมะ
- ความดี ความดีงาม
- คุณธรรม
- ทำคุณงามความดี มีคุณงามความดี
- จริยธรรม
- ความยุติธรรม
- ความเที่ยงธรรม
- ความเที่ยงตรง
- ความเถนตรง
- สุจริต
- ซื่อสัตย์
- ซื่อตรง
- ไม่ทำผิดไม่ทำชั่ว
- ทำถูกทำดี
- ทำจิตใจให้สะอาด บริสุทธิ์ ผ่องใส เป็นอิสระอย่างถูกต้อง
- มีจิตใจที่งดงาม
- ธรรมวิจัย คือ การเฟ้น หรือการเลือกเฟ้นธรรมะมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ในเหตุการณ์หรือการกระทำต่างๆ
- ความผ่อนคลาย ไม่กระสับกระส่าย ไม่เครียด อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- ปีติ คือ ความอิ่มใจ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- สดใส ร่าเริง อย่างถูกต้อง
- เบิกบาน
- มีแรงผลักดัน แรงบันดาลใจ อย่างเป็นฝ่ายธรรมะ เป็นความถูกต้องความดี ไม่เป็นกิเลสฝ่ายอธรรม
- กระทำให้เป็นแนวบวก
- ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
- ถูกกฎของธรรมะ ถูกกฎของการกระทำ ถูกกฎของวิชา ถูกกฎที่ถูกที่ดี
- ถูกกฎของธรรมชาติ
- การให้ธรรมชาติอนุญาต อนุมัติ อย่างถูกต้อง
- รู้จักใช้ระบบเปิด ระบบปิด ตามกาล อย่างถูกต้อง
- ทิ้งอธรรม สละอธรรม ทิ้งวิชาที่ผิดที่ไม่ดี
- มีแรงใจ พลังใจ อย่างถูกต้อง
- มีกำลังใจ ให้กำลังใจตนเอง อย่างถูกต้อง
- ให้กำลังใจ อย่างถูกต้อง
- มี ใช้แรงขันธ์ อย่างถูกต้อง มีขีดจำกัด
- จำแนก แบ่ง แยก แยกส่วน อย่างถูกต้อง
- เว้นช่องไฟทางนาม อย่างถูกต้อง
- การมีมุมมองที่ถูกที่ดี ด้วยวิชา มองตามความจริง
- การคิด พูด สื่อ กระทำ เป็นหลายมิติ เป็นหลายด้าน เป็นหลายมุมมอง อย่างถูกต้อง
- ความไตร่ตรอง ความพิจารณา อย่างถูกต้อง
- การเชื่อ อย่างถูกต้อง
- ตั้งหลัก อย่างถูกต้อง
- คิด ปรารถนา ปฏิบัติให้ตนถูก ดี ได้ดี มีความสุข
- คิด ปรารถนา ปฏิบัติให้ผู้อื่นถูก ดี ได้ดี มีความสุข
- เข้มงวด เคร่งครัด อย่างถูกต้อง
- มีวินัย อย่างถูกต้อง
- กล้าในการกระทำความถูกความดี
- กล้า กล้าหาญ เข้มแข็ง สู้ อดทน อย่างถูกต้อง
- สร้างเหตุที่ถูกที่ดี
- มีเหตุผล
- รู้เหตุ
- รู้ผล
- รู้ตน
- รู้จักการกะ ประมาณ อย่างถูกต้อง
- รู้จักกาล รู้เวลา รู้กาล รู้กาลเทศะ
- รู้ชุมชน รู้ที่ประชุม
- รู้บุคคล
- เข้าใจ อย่างถูกต้อง
- เปรียบเทียบ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- รู้จักการแก้ไข ปรับปรุง อย่างถูกต้อง
- รู้ในหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบในหน้าที่ของตน อย่างถูกต้อง
- มีความรับผิดชอบในความผิดพลาดของตนเอง อย่างถูกต้อง
- รู้จักการปรับแต่ง อย่างถูกต้อง
- รักษา อย่างถูกต้อง
- รักษาตนเอง อย่างถูกต้อง
- รักษาผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของตนเอง อย่าถูกต้อง
- ซ่อมแซม รักษาขันธ์ของผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ฟื้นฟู อย่างถูกต้อง
- ฟื้นคืน นำมาใช้ต่อ กู้คืน นำกลับมาใช้ใหม่ อย่างถูกต้อง
- ใช้กันชนต่อขันธ์ หรือรูปนาม อย่างถูกต้อง
- มีความระมัดระวัง อย่างถูกต้อง
- มีขอบเขตจำกัด มีขีดจำกัด อย่างถูกต้อง ตามหลักธรรม ตามหลักวิชา ตามกฎของธรรมชาติ ตามกาล
- การเลือก อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- กรอง อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- การตัดสินใจ การตัดสินใจเอง อย่างถูกต้อง
- มีความยั้งคิด ยับยั้งชั่งใจ อย่างถูกต้อง
- เคารพ นับถือ อย่างถูกต้อง
- มีความสำรวม อย่างถูกต้อง
- สุภาพ เรียบร้อย
- มีมารยาท
- มีความนอบน้อมต่อธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส
- มีความอ่อนน้อมต่อธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส
- มีความนอบน้อม อย่างถูกต้อง
- มีความอ่อนน้อม อย่างถูกต้อง
- ให้เกียรติตนเอง อย่างถูกต้อง
- ให้เกียรติผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ยินดีในความถูกความดีของผู้อื่น
- ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีมีความสุข
- โอบอ้อม อารี อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจ อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจตน อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- รักษาจิตใจกัน อย่างถูกต้อง
- การรู้จักอภัยให้ ทั้งตนเองหรือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ อย่างถูกต้อง
- อุดหนุน จุนเจือ เกื้อกูล อย่างถูกต้อง
- สามัคคี ปรองดองกัน อย่างถูกต้อง
- มีความเป็นกัลยาณมิตรกัน
- มีไมตรี
- มีเป้าหมายเป็นความถูก ทำเพื่อความถูก
- เข้าหาความถูก ธรรมะ ความไม่เป็นกิเลส
- พึ่งพาความถูก
- พึ่งพาธรรมะ
- พึ่งพาตนเอง อย่างถูกต้อง
- พึ่งพาอาศัยกัน อย่างถูกต้อง
- ชี้นำ อย่างถูกต้อง
- น้อมนำ นำพาตนเอง อย่างถูกต้อง
- น้อมนำ นำพาผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ช่วยเหลือตนเอง อย่างถูกต้อง
- ช่วยเหลือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ประคับประคองตนเอง อย่างถูกต้อง
- ประคับประคองผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- สนับสนุน อย่างถูกต้อง
- ส่งเสริม อย่างถูกต้อง
- เชิดชู อย่างถูกต้อง
- ค้ำชู อย่างถูกต้อง
- บอก เตือน เพื่อไม่ให้ผิดพลาด
- ปกป้อง อย่างถูกต้อง
- ป้องกัน อย่างถูกต้อง
- สะท้อน อย่างถูกต้อง
- ประสาน อย่างถูกต้อง
- การบังคับ ควบคุมตนเองให้ถูกต้อง ให้ดี
- การควบคุม อย่างถูกต้อง
- การข่มใจ อย่างถูกต้อง
- การอดกลั้น อย่างถูกต้อง
- การเรียนรู้ อย่างถูกต้อง
- การฝึก อย่างถูกต้อง
- สังเกต อย่างถูกต้อง
- สื่อ ฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างถูกต้อง
- จำ อย่างถูกต้อง
- รู้ค่า รู้คุณค่า รู้ประโยชน์
- คิด พูด สื่อ กระทำให้มีค่า มีคุณค่า มีประโยชน์ อย่างถูกต้อง
- มีสาระ คิด พูด สื่อ กระทำอย่างมีสาระ
- มีแก่นสาร อย่างถูกต้อง
- การสร้างสรรค์ อย่างถูกต้อง
- รู้ อย่างถูกต้อง
- มีความรู้ มีความรู้รอบ อย่างถูกต้อง
- มีระบบ แบบแผน อย่างถูกต้อง
- มีแผน การวางแผน ปฏิบัติตามแผน อย่างถูกต้อง
- วิเคราะห์ อย่างถูกต้อง
- การบริหาร อย่างถูกต้อง
- การจัดการ อย่างถูกต้อง
- สรุป อย่างถูกต้อง
- การจัดรูปแบบ อย่างถูกต้อง
- การจัด จัดสัดส่วน อย่างถูกต้อง
- จัดกลุ่ม จัดหมวดหมู่ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง
- การจับ จับได้ อย่างถูกต้อง
- การจอง อย่างถูกต้อง
- หาโอกาส คว้าโอกาส กู้คืนโอกาส คว้าโอกาสคืน ซ่อมแซมโอกาส รักษาโอกาส ใช้โอกาส อย่างถูกต้อง
- การหา เรียง ทำ สร้าง อย่างถูกต้อง
- การรับ อย่างถูกต้อง การรับจากความถูกความดี การรับจากเหตุที่ถูกที่ดี
- ใช้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง ถูกหลักธรรม ถูกหลักวิชา ถูกกฎของธรรมชาติ มีคุณค่า มีประโยชน์ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- รู้จักการเก็บ สะสม อย่างถูกต้อง พอเหมาะ ไม่เป็นกิเลส เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้ในยามจำเป็น
- ซ่อม ซ่อมแซม
- พัฒนา อย่างถูกต้อง
- ชำนาญ เชี่ยวชาญ อย่างถูกต้อง
- แม่นยำ อย่างถูกต้อง
- อุดช่องโหว่ อย่างถูกต้อง ไม่เจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส ไม่ถูกเจาะระบบอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- แก้ปัญหาในการอยู่ อย่างถูกต้อง เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรมหรือไม่เป็นกิเลส
- ช่วยกันแก้ปัญหาในการอยู่ อย่างถูกต้อง เป็นวิชา ไม่เป็นอธรรมหรือไม่เป็นกิเลส
- มีคุณภาพที่สูง ไม่เป็นกิเลส
- เติมเต็ม อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความมั่นคง สม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลายในความถูกความดี
- มีความเจริญ รุ่งเรือง อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส
- ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี
- การเจรจาที่ถูกที่ดี สนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล
- ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี
- ความไม่เบียดเบียน การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส
- ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ
- ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ
- ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูกที่ดี
- ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง
- การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง
- ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง
- การรู้จักให้รู้จักรับ รู้จักแบ่งปัน การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง
- การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก
- การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ความเป็นกลางในสภาวธรรม ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- การรู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง
- ความตรง
- สัจจะ ความจริง จริงใจ
- ไม่หลง ไม่มัวเมา
- ไม่อาลัย ไม่เศร้า ไม่หดหู่
- ไม่เสียดายอย่างเป็นอธรรมหรือเป็นกิเลส
- การไม่ยอมทำตาม หรือมีใจไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจอธรรม ความผิดความไม่ดี อวิชา กิเลส
- การไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนาในอธรรม อวิชา กิเลส
- การไม่เข้าหา ยึด ติด พึ่ง พึ่งพา ใช้อธรรม อวิชา กิเลส
- การฝืน อดทนอดกลั้นต่ออธรรม กิเลส การบีบบังคับของกิเลส แนวลบอย่างเป็นอธรรม
- การเว้นอธรรม อวิชา กิเลส
- การไม่คิด พูด สื่อ ปฏิบัติอย่างเป็นอธรรม อวิชา กิเลส
- ทิ้งกิเลส สละกิเลส
- การตัดอธรรม ตัดอวิชา ตัดกิเลส
- ความไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- ถอนอธรรม ถอนอวิชา ถอนกิเลส
- เป็นไทจากอธรรม กิเลส
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ประสบความสำเร็จ สมหวัง อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- มีความสุข อย่างถูกต้อง ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- มีความสุขในธรรม อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส
- มีความสงบ อย่างถูกต้อง ไม่เป็นกิเลส เป็นทางสายกลาง
- ไม่มีอธรรม ไม่มีกิเลส แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ถูกต้อง คือ ถูกหลักธรรม ถูกคลองธรรม ถูกหลักวิชา
อวิชา คือ ความไม่มีวิชา วิชาที่ผิดที่ไม่ดี

โดย ชวัลธร

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม

ธรรมะหลัก ๔ ข้อ คือ
- ความถูก ธรรมะ ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม
- วิชา
- ความไม่มีอธรรม ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ธรรมะหลัก ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
ควรเก็บธรรมะหลัก ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้
ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวศูนย์ หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะหลัก ๔

ธรรมะหลัก หรือ ธรรมฝ่ายดีงาม ๒๕ ข้อ คือ
- ความถูก ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง
- ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส
- จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส
- ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี การตัดสินใจ การตัดสินใจเองอย่างถูกต้อง
- การเจรจาที่ถูกที่ดี สนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล
- ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี สุจริต การช่วยเหลือ พึ่งพาตนเอง อย่างถูกต้อง การช่วยเหลือผู้อื่น อย่างถูกต้อง
- ความไม่เบียดเบียน การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส
- ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ
- ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี
- การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ
- ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูกที่ดี
- ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง
- ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ จัดสัดส่วนต่างๆ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง เหมาะสม การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง
- ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง
- การรู้จักให้รู้จักรับ รู้จักแบ่งปัน การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง
- การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก
- การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก
- การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- ความเป็นกลางในสภาวธรรม ความเป็นกลาง
- ความเป็นธรรม
- การรู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง
- ความตรง
- สัจจะ ความจริง จริงใจ
- ความอิสระ อย่างถูกต้อง
- ความไม่เป็นอธรรม ความไม่มีอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง

ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี
ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ
ธรรมะหลัก เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้

โดย ชวัลธร

สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน

การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน...